การคิดแก้ปัญหาให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพจำต้องมีกรอบแนวคิด จุดประสงค์ และข้อมูลชัดเจนและเหมาะสม การวิเคราะห์ วางแผน ถ่ายทอดปฏิบัติให้บรรลุตามเป้าหมาย การคิดเชิงกลยุทธ์ การกำหนดเป้า ทำงานเชิงรุกและเชิงรับ การกระตุ้นการให้อภัยโดยมุ่งเน้นความยั่งยืน การกำหนดเป้าขึ้นอยู่กับการเป็นตัวตนและชัดเจนโดยเชื่อมโยงในลักษณะแบบการใช้พิสัย การกำหนดสำหรับนักคิดการทำอะไรบางสิ่งบางอย่างต้องสมบูรณ์แบบ แต่จะคิดว่าจะทำอย่างไรให้พัฒนาแบบยั่งยืน การปรับสมดุล สิ่งดีดีมาทดแทนสิ่งที่ขาดหายไป คุณค่าของคนเราไม่สมบูรณ์แบบเสมอไป สามารถนำมาปรับปรุงทดแทนกันได้
วิเคราะห์เพื่อหาสถานการณ์และผลกระทบหาแนว ทางเชิงรุกและรับโดยพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน กระบวนการพัฒนารากฐาน การวิเคราะห์โดยแยกแยะปัจจัยที่เกี่ยวข้อง มีการเชื่อมโยงปัจจัยหลากหลาย และหาปัจจัยนั้นๆ เพื่อนำไปสู่วิสัยทัศน์ กลไกของการวิเคราะห์โดยแยกปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก และคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และวิเคราะห์อย่างถ้วนถี่
การวิเคราะห์จากภายนอกสู่ภายใน (Outside-in) นำผลที่วิเคราะห์มาวางแผน ป้องกัน เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผนเชิงรุก ป้องกันและตั้งรับเพื่อนำไปสู่เป้าหมาย กระบวนการวิเคราะห์ของแต่ละคนมีรูปแบบที่เหมือนกันแต่ผลวิเคราะห์ไม่จำเป็นต้องเหมือนกันเนื่องจากผู้วิเคราะห์แต่ละคนมีกรอบแนวคิดที่ไม่เหมือนกัน ดังนั้นจึงไม่มีผลวิเคราะห์ใดที่มีความถูกต้องแน่นอนตายตัว หากแต่จะมีผลวิเคราะห์ที่เหมาะสมและถูกยอมรับได้มากหรือน้อยเท่านั้น
ประโยชน์ที่ได้รับ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นในการคิดหาหลักการพื้นฐานการคิดเชิงกลยุทธ์-Foundation of Strategic Thinking การกำหนดพิสัย กลไกและรูปแบบของการคิดเคราะห์ แบบ Outside-in การใช้สถานการณ์รองเพื่อหาสมดุลและการกำหนดตำแหน่งกลยุทธ์